ขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บได้จากโครงการทิ้งให้ดี
ตั้งแต่วันที่ 01/01/2015 ถึงวันที่ 30/07/2019
จำนวนขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เก็บได้
จากศูนย์บริการดีแทคทั่วประเทศ
0
ชิ้น
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
โดยเฉลี่ย
0
กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์
ขยะมือถือ เป็นส่วนนึงของขยะอิเล็กทรอนิกส์
คิดเป็น 65% ของเสียอันตรายจากชุมชน จำนวน 414,600 ตัน
ซึ่งได้รับการกำจัดอย่างถูกต้อง เพียงแค่ 13% เท่านั้น
ขยะมือถือยังเป็นซากผลิตภัณฑ์ที่พบมากที่สุด
และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
รู้หรือไม่...ในปี 2559
ประชากรไทย 70 ล้านคน
มีโทรศัพท์มือถือใช้มากกว่า 122%
คาดการณ์ขยะมือถืออยู่ที่
9,230,000
เครื่อง
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ
มือถือ 10 ล้านเครื่อง เยอะขนาดไหน ?
ถ้าเอา ขยะมือถือ 10 ล้านเครื่อง มาวางเรียงกันต้องใช้
สนามฟุตบอลขนาดมาตรฐานถึง 6 สนามครึ่ง
ถึงจะวางพอ...
มือถือ 10 ล้านเครื่อง เยอะขนาดไหน ?
ถ้าเอา ขยะมือถือ 10 ล้านเครื่อง มาวางเรียงกันต้องใช้
สนามฟุตบอลขนาดมาตรฐานถึง 6 สนามครึ่ง
ถึงจะวางพอ...
จากมือถือในมือคุณ สู่เส้นทางการเดินทางของขยะมือถือ
ถ้าคุณทิ้งขยะมือถือรวมกับขยะทั่วไป หรือขายให้กับผู้รับซื้อของเก่า ที่กำจัดขยะมือถืออย่างไม่ถูกวิธี
นี่คือสิ่งที่คุณกำลังมอบให้กับประเทศไทย
ตำบลบ้านเป้า อำเภอพุทไธสง
จังหวัดบุรีรัมย์
บริเวณที่ชาวบ้านใช้คัดแยกทองแดงออกจากจออิเล็กทรอนิกส์
พบสารหนูและตะกั่วเกินค่ามาตรฐานของดินที่ใช้เพื่อการอยู่อาศัยและเกษตรกรรม

10 หมู่บ้าน

ประกอบกิจการ
คัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์

รถรับซื้อขยะ
85 คัน

แหล่งรับซื้อ
ขนาดใหญ่ 6 แห่ง

ผู้คัดแยกรายย่อย
72 ราย
ปริมาณขยะที่คัดแยก 249 ตันต่อสัปดาห์
ที่มา: รายงานทีดีอาร์ไอ ฉบับที่ 133 ตุลาคม 2560
10.74% ของขยะทั้งหมด
เป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์ ที่ไม่มีมูลค่า
ผู้เชี่ยวชาญจากกรมควบคุมมลพิษ และสำนักงานสิ่งแวดล้อมที่ 11 เก็บตัวอย่างน้ำผิวดินและตัวอย่างดิน 4 จุด พบค่าเกินมาตรฐาน 1 จุด คือ ที่สาธารณะ (โคกขอนแก่น)
สารหนู
4.7 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
3.9 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
ตะกั่ว
1,812 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
ค่าที่พบ
ค่ามาตรฐานของดิน ที่ใช้เพื่อการอยู่อาศัยและเกษตรกรรม
สุดท้ายถ้าคุณทิ้งในถังขยะทั่วไปหรือทิ้งกับใครไม่รู้..
สารเคมีเหล่านั้นจะกลับมาปนเปื้อนในแหล่งน้ำ
และหน้าดินที่เกษตรกรใช้เพาะปลูกพืช
สุดท้ายถ้าคุณทิ้งในถังขยะทั่วไปหรือทิ้งกับใครไม่รู้..
สารเคมีเหล่านั้นจะกลับมาปนเปื้อน
ในแหล่งน้ำและหน้าดินที่เกษตรกรใช้เพาะปลูกพืช
กลับคืนสู่คุณ ผ่านข้าวกระเพราจานโปรด
กลับคืนสู่คุณ
ผ่านข้าวกระเพราจานโปรด
นอกจากนี้ยัง
ทำลายระบบการทำงานของร่างกาย
ในระยะยาว
แต่ถ้าคุณเลือก
ทิ้งโทรศัพท์มือถือที่จุดรับทิ้ง
โดยหน่วยงานที่ชื่อถือได้
นี่คือสิ่งที่คุณกำลังส่งมอบให้ประเทศไทย...
จากขยะมือถือในมือคุณ...สู่กระบวนการกำจัดและรีไซเคิลขยะอย่างถูกวิธี
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
ในปี 2558 - 2562 ที่ผ่านมา
ดีแทคร่วมกับ TES ซึ่งเป็น 1 ใน 7 โรงงานที่มีความสามารถใน
การรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างถูกวิธี จากทั้งหมด 148 โรงงาน
เก็บขยะมือถือและนำมาเข้าสู่
กระบวนการรีไซเคิลได้ทั้งหมด
1,774,338 เครื่อง
เทียบเท่าการปลูกต้นไม้
2,481,116 ต้น
ทองคำ
8.87 กิโลกรัม
ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนได้
22,330,043.73 กิโลคาร์บอน
นอกจากมือถือแล้ว Canalys บริษัทวิจัยตลาดระดับโลก คาดการณ์ว่า
จะมีอุปกรณ์อัจฉริยะ (Smart Devices) อีกกว่า 3,000,000,000 ล้านชิ้นทั่วโลก ภายในปี 2023
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
Responsive image
ดีแทคจึงขอเชิญชวนทุกคน
ร่วมเป็น 1 ในพลังของการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้โลกของเราน่าอยู่ยิ่งขึ้น
นำสมาร์ทโฟนและแบตเตอรี่ที่ใช้งานไม่ได้ มาทิ้งให้ดีและถูกวิธี
ที่ ศูนย์บริการดีแทค ทั่วประเทศ